วันอังคารที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2558

การอาชญากรรมและอาชญากรคอมพิวเตอร์

การอาชญากรรมและอาชญากรคอมพิวเตอร์

-การอาชญากรรมคอมพิวเตอร์คอม เป็นการกระทำที่ผิดกฏหมาย โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ รวมถึงการก่อกวนโดยกลุ่มแฮกเกอร์
-อาชกรคอมพิวเตอร์ คือ ผู้กระทำผิดกฏหมายโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสำคัญ สามารถจำเเนกอาชญากรเป็นกลุ่มดังนี้

1.แฮกเกอร์ คือ แฮกเกอร์ บุคคลที่ใช้ความสามารถในทางที่ไม่ถูกต้องหรือผิดกฏหมาย

2.เเครกเกอร์ คือ แฮกเกอร์ที่ทำไปเพื่อผลประโยชน์ในทางธุรกิจ

3.แฮกดีวิสต์หรือไซเบอร์เทอร์รอริสต์ คือ แฮกเกอร์ที่ทำไปเพื่อผลประโยชน์ทางการเมือง

-อาชกรคอมพิวเตอร์ ทั่วโลกจัดออกเป็น ๙ ประเภท ดังนี้

1.การขโมยข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

2.การที่อาญากรนำเอาระบบการสื่อปกปิดความผิดของตนเอง

3.การละเมิดสิทธิปลอมแปลงรูปแบบ

4.การใช้คอมพิวเตอร์แพร่ภาพ ลามกอนาจาร

5.การใช้คอมพิวเตอร์ฟอกเงิน

6.การที่มีอัธพาลทางคอมพิวเตอร์ที่เข้าไปก่อกวนทำลายระบบสาธรณูปโภค เช่น จ่ายค่าไฟ

7.การหลอกลวงให้ร่วมค้าขายหรือลงทุนปลอม

8.การแทรกแซงข้อมูลแล้วนำมาเป็นประโยชน์ต่อตนเองโดยมิชอบ

9.การใช้คอมพิวเตอร์แอบโอนเงินบัญชีผู้อื่นเข้าบัญชีตนเอง

-การใช้คอมพิวเตอร์ในฐานะเป็นเครืองมือในการก่ออาญากรรม มีหลายรูปแบบ เช่น

(1.)การขโมยหมายบัตรเคดิต ซึ่งอาจทำได้จาก

1.การขโมยผ่านทางอืเล็กทรอนิส์

2.การชำระค่าสินค้าด้วยบัตรเคดิต

-คอมพิวเตอร์ในฐานะของเป้าหมายอาชญากรรม
อาชญากรรมในคอมพิวเตอร์มี ๓ ประเด็น คือ

1.การเข้าถึงและการใช้งานโดยไม่ได้รับอนุณาต

2.การก่อกวนหรือทำลายข้อมูล

3.การขโมยข้อมูลและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

-วิธีการใช้งานในการกระทำความผิดทางอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปแล้ว วิธีการที่ใช้ในการประกอบอาชญากรรมทางคมพิวเตอร์ดังต่อไปนี้

1.ดาตาดิดลิง คือ การเปลี่ยนเเปลข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาตก่อน การเปลี่ยนเเปลงข้อมูลนี้สามารถกระทำโดยบุคคลใดก็ได้ ซึ้งข้อมูลดังกล่าวหากถูเเก้ไขเพียงเล็กน้อยพนักงานเเต่ละคนจะไม่สงสัย

2.โทรจันฮอร์ส การเขียนโปรเเกรมคอมพิวเตอร์ที่แงไว้ในโปรเเกรม วีธีนี้มักใช้กับการฉ้อโกงทางคอมพิวเตอร์

3.ซาลามืเทคนิค  วิธีปัดเศษจำนวนเงิน แล้วนำมาทศนิยม นอกจากใช้กับการปัดเศษเงินเเล้ว วิธีนี้อาจใช้กับระบบการตรวจนับของสินค้าได้อีก

4.ซูเปอร์แซพปิง เป็นโปรแกรมที่ใช้ในศูนย์คอมพิวเตอร์ โปรเเกรมซูเปอร์เเซพ จะมีความเสี่ยงมากหากตกไปอยู่ในมือของผู้ไม่หวังดี

5.แทรปดอร์ เป็นการเขียนโปรเเกรมที่เลียนเเบบคล้ายหน้าจอปกติของระบบคอมพิวเตอร์ โดยโปรแกรมนี้จะเก็บข้อมูลที่ต้องการไว้ในไฟล์ลับ

6.ลอจิกบอมบ์ เป็นการเขียนโปรเเกรมคำสั่ง สามารถใช้ติดตามดูความเคลื่อนไหวของระบบบัญชี

7.อัสซินครอนีสแอตเเทรก  คือสามารถทำงานหลายๆอย่างพร้อมกันโดยประมวลผล ระบบดังกล่าวก่อให้เกิดจุดอ่อน

8.สกาเวนจิง คือวิธีที่จะได้ข้อมูลที่ทิ้งไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ หรืออาจใช้เทคโนโลยีซับซ่อนทพการหาข้อมูลนั้นๆ

9.ดาตาลีเกจ หมายถึง การทำให้ข้อมูลรั่วไหลออกไป บางครั้งคนร้ายอาจตั้งเครื่องดักสัญญาณไวกับคอมพิวเตอร์

10.พิกกีเเบกกิง วิธีการดังกล่าวสามารถทำได้ทั้งกายภาพ  อาจเกิดขึ้นในกรณีที่ใช้สายสื่อสารเดียวกัน

11.อิมเพอร์เนชัน คือ การที่ตนร้ายเเกล้งเปลี่ยนปลอมบุคคลอื่นที่มีอำนาจหือได้รับอนุญาต โดยให้เหยื่อบอกรหัสเดิมก่อน ต่างๆ

12.ไวร์แทปพิง  เป็นการลักลอบดักฟังสัญญาณการสื่อสารโดยเจตนา โดยการกระทำความผิดดังกล่าวกำลังเป็นที่วิตกกังวลอย่างมาก

13.ซิมูเลชันแอนโมเดลลิ  ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผนต่างๆ มีการสร้างแบบจำลองในการปฎิบัติการ หรือช่วยเหลือ

- วิธีการป้องกันการเข้าถึงข้อมูลเเละคอมพิวเตอร์
-มี๔วิธีดังนี้

๑.ใช้ชื่อผู้ใช้  ผู้ใช้ควรเปลี่ยนรหัสด้วยตนเองภายหลัง

๒.ใช้วัตถุเพื่อการเข้าสู่ระบบ  เช่น บัตรเเม่เหล็ก หรือกุญเจ เป็นต้น

๓.ใช้อุปกรณ์ทางชีวภาพ เช่น ลายนิ้วมือ หรือการตรวจสอบ ถ้าข้อมูลไม่ต้องกัน เครื่องคอมพิวเตอร์จะปฎิเสธ

๔.ระบบเรียกกลับ เป็นระบบที่ผู้ใช้ระบุชื่อและรหัสผ่าน เพื่อขอเข้าใช้ หากถูกต้อง คอมพิวเตอร์จะเรียกกับเข้าใช้งานทันที

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

-กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
 มีดังนี้

1.กฏหมายข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อนคุ้มครองสิทธิในความเป็นส่วยตัวนั้นๆ

2.กฏหมายอาญากรรมทางคอมพิวเตอร์เพื่อคุ้งครองสังคมจากความผิดที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารอันเป็นถือทรัพย์ที่ไม่มีรูปร่าง

3.กฏหมายการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อคุ้งครองการทำธุรกรรมทางอินเทอร์เน็ต

4.กฏหมายการสับเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อที่จะเอื้อให้มีการทำนิติกรรมสัญญาทางอิเล็กทรอนิกส์ได้

5.กฏหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อสร้างความมั่นใจให้เเก่คู่กรณีในอันที่จะต้องในอันที่จะต้องพึ่งพาเทคโนโลยีเพื่อการลงลายเซ็น

6.กฏหมายการโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์เพื่อคุ้งครองผู้บริโภคและสร้างหลักประกันที่มั่นคง

7.กฏหมายโทรคมนาคมเพื่อวางกลไกในการเปิดเสรีให้มีการเเข่งขันที่เป็นธรรมชาตฺิและมีประสิทธิภาพ

8.กฏหมายระหว่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศและการค้าระหว่างประเทศที่เกี่ยวเนื่องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

9.กฏหมายที่เกี่ยวเนื่องกับอินเทอร์เน็ต

10.กฏหมายพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ โดยกฏหมายดังกล่าวมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ ๓ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๙ ที่ผ่านมา

ความหมายของจริยธรรม

ความหมายของจริยธรรม

จริยธรรม หมายถึง มีคำจำกัดความของจริยธรรมอยู่หลายความหมา เช่น "หลักของศีลธรรม ในเเต่วิชาชีพเฉพาะ" หรือสรุปได้ว่า จริยธรรมหมายถึง หลักของความถูกเเละความผิดที่บุคคลใช้เป็นแนวทางในการปฎิบัติ เป็นต้น

- ตัวอย่าง

1.การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น ให้เกิดความเสียหายต่างๆ

2.การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล

3.การเข้าถึงข้อมูลของบุคคลอื่นโดยไม่ได้อนุญาต

4.การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟเเวร์

- กรอบความคิดเรื่องจริยธรรม

1.ความเป็นส่วนตัว คือ การรวบรวม เเละเก็บรักษา

2.ความถูกต้อง คือ ความถูกต้องเเละแม่นยำของการเก็บรวบรวม

3.ทรัพย์ทางปัญญา คือ กรรมสิทธิ์และมูลค่าของข้อมูลสารสนเทศ

4.การเข้าถึงข้อมูล คือ สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้

- ความเป็นส่วนตัว
 ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิจะอยู่ตามลำพังและเป็นสิทธิเเละเจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลได้ของตนเองให้กับผู้อื่น

ปัจจุบันมีประเด็นเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวที่เป็นข้อน่าสังเกตดังนี้

1.การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์รวมทั้งการบันทึก

2.การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล

3.การใช้ข้อมูลของลูกค้าจากแหล่งต่างๆ เพื่อประโยชน์ ในการขยายตลาด

4.การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่อีเมล หมายเลขบัตรเคดิตต่างๆ เพื่อนำไปสร้างฐานข้อมูลไหม่ประวัติลูกค้าขึ้นมาไหม่

- ความถูกต้อง
ในการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อการรวบรวม จัดเก็บ คุณลักษณะที่สำคัญ ทั้งนั้นนี้ข้อมูลจะมีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยูกับความถูกต้อง หรือกรณีของข้อมูลที่เผยเเพร่ผ่านเว็บไซต์ จะทราบได้อย่างไรว่าข้อผิดพราดที่เกิดขึนไม่ได้เกิดจากความจงใจและผู้ใดจะเป็นผู้รับผิดชอบหากเกิดข้อมูลผิดพลาด ข้อมูลควรไดัรับการตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะนำเข้าฐานข้อมูลนั้นๆ

- ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา หมาบถึง สิทธิความเป็นเจ้าของซึ่งอาจเป็นทรัพย์สินส่วนตัวที่จับต้องได้ เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์  เป็นทรัพย์สินทางปัญญา (ความคิด) ที่จับไม่ได้ เช่น บทเพลง ดปรเเกรมคอมพิวเตอร์ เเต่สามารถถ่ายทอดเเละบันทึกลงในสื่อต่างได้ๆ

- ลิขสิทธิ์
ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ หมายถึงลิขสิทธิ์ ผู้เดียวที่จะกระทำการใดๆ ตามพระราชบัญญัติดังกล่าวลิขสิขสิทธิ์ทั่วไปมีอายุ๕๐ปีนับตั้งเเต่ได้สร้างสรรค์ขึ้น โทษของการละเมิดลิขสิทธิ์ ผู้ใดที่ถูกดำเนินคดีจะมีโทษอาญาได้

- สิทธิบัตร
 สิทธิบัตร หมายถึง เอกสารที่แสดงถึงการจดทะเบียนคุ้มครองการประดิษฐ์และการออกเเบบผลิตภัณฑ์ เเต่ต่างกันตรงที่สิทธิบัตรที่เป็นการประดิษฐ์ที่มีเทคนิคไม่สูงมากนัก เป็นการปรับปรุงเพียงเล็กน้อย

-การละเมิดลิชสิทธิ์
๑.การละเมิอลิขสิทธิ์โดยตรง  โดยไม่ได้รับอนุญญาติจากเจ้าของลิขสิทธิ์โดยตรง

๒.การละเมิดสิทธิ์ทางอ้อม คือ การกระทำทางการค้าขาย โดยผู้กระทำอยู่เเล้วว่างานใดได้ทำขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ และการเเจกจ่ายในลักษณะที่อาจก่อความเสียหายได้

-การเข้าถึงข้อมูล
ปัจจุบันการเข้าใช้งานโปรเเกรม หรือระบบคอมพิวเตอร์มักจะมีการกำเนิดสิทธิตามระดับ กับข้อมูลของผู้ใช้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการใช้งานคอมพิวเตอร์เเละเครือข่ายรวมกันให้เป็นระเบียบ และข้อบังคับในเเต่ละหน่วยงานอย่างเคร่งครัดนั้นๆ

วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

      การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศจนสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างมาก   นับได้ว่าเป็นยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศหรือยุคข้อมูลข่าวสาร   ซึ่งก่อให้เกิดประโยขน์ต่อมวณมนุษย์มหาศาล
1.ช่วยส่งเสริมความสะดวกสะบายของมนุษย์   เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยทำให้มนุษย์มีชีวิตความเป็ยอยู่ที่ดีขึ้น   ช่วยส่งเสริมให้มีประสิทธิภาพในการทำงาน
2.ช่วยทำให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีขึ้น   ระบบการผลิตสินค้าในปัจจจุบันเป็นระบบที่ต้องการผลิตสินค้าเป็นจำนวนมาก   มีคุณภาพมาตรฐาน   การผลิตในสมัยปัจจุบันใช้เครื่องจักทำงานอย่างอัตโนมัติ
3.ช่วยส่งเสริมการค้นคว้าให้มีความสะดวกและประสิทภาพขึ้น   เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเช่น   เครือข่ายคอมพิวเตอร์ช่วยให้งานค้นคว้าวิจัยมีความก้าวหน้ายิ่งขึ้นคอมพิวเตอร์ช่วยทำงานที่ซับซ่อน
3.ช่วยส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยให้มีความสะดวกและมีประสิทธิภาพขึ้น  เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเช่น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ช่วยให้งานค้นคว้าวิจัยมีความก้าวหน้ายิ่งขึ้น
4.ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น   คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้กิจการทางด้านการแพทย์เจริญก้าวหน้าขึ้นมาก   ปัจจุบันเครื่องมือทางการแพทย์ช่วยในการดำเนินการ
5. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์ คอมพิวเตอร์มีจุดเด่นที่ทำให้การทำงานต่างๆ รวดเร็วมีความเเม่นยำ เเละสามารถทำงานเสร็จในเวาลาไม่นาน เพื่อให้มนุษย์หาทางศึกษาเเก้ปัญหาเช่น การจำลองสภาวะของสิ่งเเวดล้อมเป็นต้น
6. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เศรษฐกิจเจริญรุ่งเรือง การใช้เทคนโลยีเป็นเรื่องที่จำเป็นต่ออุตสาหกรรมเป็นต้น ช่วยส่งเสริมงานทางด้านเศรษฐกิจธุระกิจอาศัยการเเลกเปลียนข้อมูลทางอีเล็กทรอนิกส์ระหว่างกัน เกิดระบบการสับเปลี่ยนข้อมูลอีเล็กทรอนิกส์
7. ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน สังคมโลกไร้พรมเเดน

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเปลี่ยนแปลง

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเปลี่ยนแปลง

   แนงโน้มการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก   เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้หารหระจายข้อมูลข่าวสารดเป็นไปอย่างรวดเร็ว  ทุกทิศทาง  และมีระบบตอบสนอง  ด้วยเหตุนี้
   1.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้สังคมเปลี่ยนจากสังคอมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศสภาพของสังคมโลกเปลี่ยนแปลงมาแล้ว2ครั้ง จากสังคมความเป็นอยู่แบบแร่ร่อนมาเป็นสังเกษตรที่มีการเพาะปลูกและผลิตผลทางการเกษตร  จึงต้องมาผลิตแบบอุตสาหกรรมทำให้สภาพเป็นอยู่ของมนุษย์เปลี่ยนแปลงมาเป็นสังคมเมือง
    2.เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบตอบสนองตามความต้องการของผู้ใช้ เช่น  การดูโทรทัศน์  วิทยุ   เมื่อเปิดเครื่องรับโทรทัศหรือวิทยุ   เมื่อเปิดเครื่องรับโทรทัศน์หรือวิทยู  ไม่สามารถเลือกตามความต้องการได้หากไม่พอใจก็ทำได้แค่เลือกสถานีใหม่
     3.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดสภาพการทำงานแบบทุกสถานที่ และทุกเวลาเมื่อการสื่อสารกล่าวหน้าและแพร่หลายขึ้น   การโต้ตอบผ่านเครือข่ายทำให้มีปฏิสัมพันธ์ได้  เกิดระบบการประชุมทางวีดิทัศน์  ระบบประชุมบนเครือข่าย  ระบบโทรศึกษา    ระบบการค้าบนเครือข่าย ลัษณะดำเนินงานเหล่านี้  ทำให้ผู้ใช้ขยายขอบเขตการดำเนินกิจกรรมไปทุกทีทุกเวลา
      4.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้ระบบเศษฐกิจเปลี่ยนจากระบบท้องถิ่นไปเป็นเศษฐกิจโลกระบบเศษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจำกัดภายในประเทศก็กระจายเป็นเศษฐกิจโลก
      5.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้องค์กรมีลักษณะผูพัน  หน่วยงานภายในเป็นแแบบเครือข่ายมากขึ้น   แต่เดิมการองค์กรจัดเป็นลำดับขึ้น  มีสานการจากบั
คับบัญชาจากบนลงล่าง  แต่เมื่อการสื่อสารแบบสองทางและการกระจายข่าวสารดีขึ้น
      6.เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดำเนินการการระยะยาวขึ้น  อีกทั้งทำให้วิธีการตัดสินใจรอบคอบมากขึ้น    แต่เดิมการตัดสินปัญหาอาจมีหนทางเลือกให้น้อย
     7.เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีที่มีบทบาทที่สำคัญในทุกวงการ  ดังนั้นจึงมีผลต่อการเปลี่ยยนแปลงทางสังคม  วัฒนธรรม   ศีลธรรม   การศึกษาเศษฐกิจและการเมื่องอย่างมาก

การขยายตัวของเทคโนโลยีสารสนเทศ

การขยายตัวของเทคโนโลยีสารสนเทศ

     เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีที่มีการแพร่ขยายอย่างรวดเร็ว   จนมีความสามารถในการใช้งานเพิ่มขึ้น  ขณะเดียวกันก็มีคาราถูกลง  ผลของการพัฒนานี้ทำให้มีการประยุกต์ใช้งานกันอย่างกว้างขวาง
     สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนในอดีตประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศเกษตรกรรม  มีผลผลิตทางด้านการเกษตรเป้นสินค้าหลัก  ต่อมามีการเปลี่ยนโครงสร้างการผลิตเป็นประเทศอุตสาหกรรม
    หากพิจารณาการใช้งานคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารทั่วไปของโลก  ปัจจุบันมูลค่าของสินค้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว  สิ่งที่หน้าสนใจคือพัฒนาแล้ว10ประเทศได้แก่สหรัฐอเมริกา  สิงค์โปร  ฟินแลนด์  ลักเซมเบิร์ก  เนเธอร์แลนด์  เขตบริหารพิเศษฮ่องกง  ไอซ์แลนด์
สวีแดน  แคนนาดา  และสวิตเซอร์แลนด์
     ถ้าพิจารณาบริษัทผู้ผลิตสินค้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศพบว่า  ประเทศผู้ผลิตเพื่อส่งออกมีเพียงแค่ไม่กี่ประเทศทั่วโลก
    ความก้าวหน้าของคอมพิวเตอร์และเครื่องมือสื่อสาร  ทำให้อุปกรณ์ต่างๆมีขนาดเล็กลงแต่มีความสามรเพิ่มขึ้น  และมีราคาถูกจนผู้ที่น่าสนใจสามารถหาซื้อมาได้  แทบกล่าวได้ว่าบทบาทของเทคโนโลยีารสนเทศจะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน
     ปัจจุบันคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารได้ประโยชน์อย่างมากต่อวงการธุรกิจ  ทำให้ทุกธุรกิจมีการลงทุนขยายขอบเขตการให้บริการโดยใช้ระบบสารสนเทศกันมากขึ้น การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์  เช่น อินเทอร์เน็ตมีอัตราการขยายตัวสูงมาก   จนกล่าวได้ว่าเป็นอัตราการขยายตัวแบบทวีคูณ ผู้คนบนโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่ได้

ประเภทของระบบสารสนเทศ

ประเภทของระบบสารสนเทศ

   ปัจจุบันจะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศชัดเจนมากขึ้น  เนื่องจากการบริหารงานในองค์การมีหลายระดับ  กิจกรรมขององค์การแต่ละประเภทจะแตกต่างกัน  ดังนั้นระบบสารสนเทศของแต่ละองค์การอาจแบ่งประเภทแตกต่างกันออกไป
          ซึ่งระบบสารสนเทศสามารถจัดแบ่งประเภทได้หลายวิธี  ในที่นี้ขอกล่าวถึงประเภทของระบบสารสนเทศที่สำคัญ3 ประเภทดังนี้
1.ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการทำงานของผู้ปฏิบัติงานหรือผู้บริห่รระดับต่างๆ
2.การจำแนกคามหน้าที่ขององค์การ
3.การจำแนกการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ
     ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการทำงานของผู้ปฏิบัติงานหรือบริหารระดับต่างๆแบ่งประเภทของสารสนเทศไว้  ดังนี้
1.ระบบประมวณผลรายการ  เป็นระบบที่ทำหน้าที่ในการปฏิบัติงานประจำ  ทำการบันทึกจัดเก็บ  ประมวณรายการที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน  โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานแทนการทำงานด้วยมือ
2.ระบบสำนักงานอัตโนมัติ เป็นระบบที่สนับสนุนงานในสำนักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน  ระบบจะประสานการทำงานของบุคลากรรวมทั้งกับบุคคลภายนอกหรือหน่วยงานอื่น
3.ระบบสร้างความรู้ เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนบุคลากรที่ทำงานด้านการความรู้เพื่อพัฒนาการคิดค้น  สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ
4.ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง  เป็นระบบที่สร้างสารสนเทศเชองกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารระดับสูง  ซึ่งทำหน้าที่กำหนดแผนระยะยาวและเป้าหมายของกิจการ
    ระบบสารสนเทศการจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ  การจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ แบ่งเป็น3ระบบดังนี้
1.ระบบสารสรเทศประมวณผลรายการ
2.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
3.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ